กองทุนภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็งจุฬาฯ

CANCER IMMUNOTHERAPY FUND

ต่อชีวิตให้

ผู้ป่วยมะเร็ง

ต้องการเงินสนับสนุนอีก
0
ติดตามความคืบหน้า 'งานวิจัย'

วิธีอื่นก็มี...แต่ทำไมต้อง

ภูมิคุ้มกันบำบัด

ภูมิคุ้มกันบำบัดคือวิธีการรักษามะเร็งแบบใหม่ที่ช่วยให้คนไข้หายขาดได้ และมีผลข้างเคียงกับร่างกายน้อย ดังนั้นการวิจัยภูมิคุ้มกันบำบัดจึงมีความจำเป็นอย่างมาก

ผลข้างเคียง

คลื่นไส้อาเจียน

ผมร่วง

ไม่อยากอาหาร

น้ำหนักลด

อ่อนเพลีย

เคมีบำบัด

พบบ่อย

พบบ่อย

พบบ่อย

พบบ่อย

พบบ่อย

ภูมิคุ้มกันบำบัด

พบน้อย

พบน้อย

พบน้อย

พบน้อย

พบน้อย

พบน้อย

มะเร็ง
คร่าชีวิตคนไทย

อันดับ 1

ต่างประเทศ
อาการดีขึ้น

0 %

การวิจัย
ลดค่ายาได้

0 %

จำนวนคนที่
สนับสนุนโครงการ

20000

มะเร็งหายได้แล้ว

แต่ค่าใช้จ่ายในไทยยังสูง

ทุกวันนี้ เราไม่มีเงินทุนรองรับการวิจัยภูมิคุ้มกันบำบัดทุกขั้นตอน จึงทำให้ค่ารักษาต่อรายสูงมาก ดังนั้น เงินลงทุนกว่า 2,180 ล้านบาทที่เราต้องการ ถือเป็นจำนวนน้อยนิดเมื่อเทียบกับผลลัพธ์ที่ดีกว่า และค่ารักษาที่คนไทยทุกคนเข้าถึงได้

1 จากสถิติโรคมะเร็งประเทศไทยล่าสุดปี พ.ศ. 2557 มีผู้ป่วยมะเร็งใหม่ โดยไม่นับจำนวนผู้ป่วยเดิมทีมีอยู่
2 ค่ารักษา ‘ภูมิคุ้มกันบำบัด’ ด้วยศูนย์วิจัยต่างประเทศ ซึ่งยังไม่นับรวมค่าหัตถการ และค่ารักษาพยาบาลอื่นๆ

คุ้มค่าแน่หรือ? กับการลงทุน หรือบริจาคให้เรา

เงินบริจาคยังขาดอีก
0
ล้านบาท
จำนวนผู้ป่วยมะเร็งใหม่1
0
ราย
ค่ารักษา 'ภูมิคุ้มกันบำบัด'
ตกคนละ2
0
ล้านบาท
หากผู้ป่วยใหม่ทุกคนเข้ารักษา
จะต้องใช้เงินประมาณ
0
แสนล้านบาท!
1 จากสถิติโรคมะเร็งประเทศไทยล่าสุดปี พ.ศ. 2557 มีผู้ป่วยมะเร็งใหม่ โดยไม่นับจำนวนผู้ป่วยเดิมทีมีอยู่
2 ค่ารักษา ‘ภูมิคุ้มกันบำบัด’ ด้วยศูนย์วิจัยต่างประเทศ ซึ่งยังไม่นับรวมค่าหัตถการ และค่ารักษาพยาบาลอื่นๆ

คุณภาพชีวิตต้องดีขึ้น! เดินหน้าไปด้วยกันกับเรา

2017

กองทุนเริ่มผลิตต้นแบบภูมิคุ้มกันจากหนูทดลอง

2019

ปรับปรุงต้นแบบให้เข้ากับมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน

2020

นำเซลล์ที่ผลิตภูมิคุ้มกันไปเพาะเลี้ยง และเพิ่มจำนวนให้มาก

2022

นำต้นแบบภูมิคุ้มกันไปทดสอบกับสัตว์ทดลอง

เพื่อพัฒนาวิธีการรักษามะเร็ง โดยเน้นไปที่การรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบำบัด (immunotherapy) ที่ได้รับการยอมรับว่ามีประสิทธิภาพสูง เพราะปัญหาในตอนนี้ คือ มีผู้ป่วยจำนวนมากที่เข้าไม่ถึงการรักษา เนื่องจากต้องพึ่งศูนย์วิจัยในต่างประเทศ ทำให้ค่าใช้จ่ายสำหรับคนไทยสูงตามไปด้วย